“กรมทรัพย์สินฯ” เตรียม เสนอ ครม. เห็นชอบ เป็น ภาคี “ทรัพย์สินฯ ทางพันธุกรรมฯ”

“กรมทรัพย์สินฯ” เตรียม เสนอ ครม. เห็นชอบ เป็น ภาคี สนธิสัญญา ระหว่าง ประเทศ ว่า ด้วย ทรัพยากร พันธุกรรม และ ภูมิปัญญา ท้องถิ่น ที่เกี่ยวกับ ทรัพยากร พันธุกรรม
“กรมทรัพย์สินฯ” เตรียม เสนอ ครม. เห็นชอบ เป็น ภาคี สนธิสัญญา ระหว่าง ประเทศ ว่า ด้วย ทรัพยากร พันธุกรรม และ ภูมิปัญญา ท้องถิ่น ที่เกี่ยวกับ ทรัพยากร พันธุกรรม

“กรมทรัพย์สินฯ” เตรียม เสนอ ครม. เห็นชอบ เป็น ภาคี สนธิสัญญา ระหว่าง ประเทศ ว่า ด้วย ทรัพยากร พันธุกรรม และ ภูมิปัญญา ท้องถิ่น ที่เกี่ยวกับ ทรัพยากร พันธุกรรม

หลังจาก ที่การเจรจา ว่า ด้วย สนธิสัญญา ระหว่าง ประเทศ ฉบับดงกล่าว ผ่าน การพิจารณาของ ประเทศ สมาชิก เมื่อ วันที่ 24 พฤษภาคม ที่ผ่านมา

“กรมทรัพย์สินฯ” เตรียม เสนอ ครม. นาย วุฒิไกร ลีวีระพันธุ์ อธิบดี กรม ทรัพย์สินทางปัญหา กระทรวง พาณิชย์ เปิดเผยว่า ทาง กรม ทรัพย์สินทางปัญญา จะเสนอ สนธิสัญญาระหว่างประเทศ ว่า

ด้วย ทรัพยากรพันธุกรรม และ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่เกี่ยวกับ ทรัพยากรพันธุกรรม (WIPO Treaty on Intellectual Property, Genetic Resources and Associated Traditional Knowledge)

ให้ คณะรัฐมนตรี เพื่อพิจารณา ให้ความเห็นชอบ

ในการที่ ประเทศไทย จะ ลงนาม เพื่อแสดง เจตจำนง ในการเข้าเป็น ภาคี สนธิสัญญา ฉบับนี้ต่อไป

นาย วุฒิไกร กล่าวว่าเมื่อ วันที่ 24 พฤษภาคม 2567 สมาชิก องค์การ ทรัพย์สินทางปัญญาโลก (World Intellectual Property Organization: WIPO) กว่า 190 ประเทศ บรรลุ การเจรจา จัดทำ สนธิสัญญาระหว่างประเทศ ว่า

ด้วยทรัพยากรพันธุกรรม และ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่เกี่ยวกับ ทรัพยากร พันธุกรรม (WIPO Treaty on Intellectual Property, Genetic Resources and Associated Traditional Knowledge) ใน การประชุมทางการทูต (Diplomatic Conference)

ซึ่งจัดขึ้น ระหว่าง วันที่ 13 – 24 พฤษภาคม 2567ณ สำนักงาน ใหญ่ WIPO นครเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส ถือเป็นความสำเร็จครั้งใหญ่ หลัง ความพยายาม ที่ยาวนาน กว่า 20 ปี

“สนธิสัญญา ฉบับนี้ เริ่มเจรจา มา ตั้งแต่ ปี 2544 เป็น สนธิสัญญา ฉบับแรก ของ WIPO ที่ เชื่อมโยง ระบบ การคุ้มครอง ทรัพย์สินทางปัญญา กับ การใช้ ทรัพยากรพันธุกรรม และ ภูมิปัญญาท้องถิ่น

ที่เกี่ยวข้อง กับ ทรัพยากรพันธุกรรม นั้น และ ยังเป็น สนธิสัญญา ฉบับแรก ที่มีบทบัญญัติ เฉพาะ สำหรับ การมีส่วนร่วม ของ ชนพื้นเมือง และ ชุมชนท้องถิ่น เช่น

ข้อกำหนด ให้ผู้ยื่น จดสิทธิบัตร ต้องเปิดเผย แหล่งที่มา ของ ทรัพยากร พันธุกรรม และ ภูมิปัญญา ท้องถิ่น ที่เกี่ยวข้อง กับ ทรัพยากรพันธุกรรม บทลงโทษ หาก ไม่เปิดเผย แหล่งที่มา และ

การจัดทำ ฐานข้อมูล เพื่อใช้ เป็นแหล่งอ้างอิง ที่มา ของ ทรัพยากร พันธุกรรม เป็นต้น”

“กรมทรัพย์สินฯ” เตรียม เสนอ ครม. ไทย ได้ ประโยชน์​

นาย วุฒิไกร กล่าวว่า สนธิสัญญา ฉบับนี้ จะเป็น ประโยชน์ อย่างยิ่ง ต่อ ไทย ในฐานะที่ เป็นประเทศ ที่มี ความหลากหลาย ทาง ชีวภาพ สูง และ มี ชุมชน ท้องถิ่น ที่เป็น เจ้าของ ภูมิปัญญา ที่เกี่ยวข้อง กับ ทรัพยากร พันธุกรรม

ทำให้ การนำ ทรัพยากรธรรมชาติ มาพัฒนา นวัตกรรม เพื่อใช้ ในการเกษตร การแพทย์ และอุตสาหกรรม การปกป้อง สิทธิของ ชุมชน เจ้าของ ภูมิปัญญา และ การป้องกัน การ แสวงหา ประโยชน์ อย่างไม่เป็นธรรม

จาก พันธุ์ พืชพันธุ์ สัตว์ ประจำถิ่น ทำควบคู่ กันไป ได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น

ทั้งนี้ ไทย อยู่ระหว่าง การแก้ไข กฎหมาย สิทธิบัตรให้สอดคล้อง กับ หลักการ ของ สนธิสัญญา ดังกล่าว เพื่อรองรับ การเข้าเป็น ภาคี ระหว่างประเทศ นาย วุฒิไกร กล่าว

ที่มาของข้อมูล : https://www.ipthailand.go.th/th/

ข่าวที่เกี่ยวข้อง : https://thejournalistclub.com/morning-news-politic-economic-thaksin/261459/