“พาณิชย์” ระบุ มูลค่า “ตลาดภาพยนตร์” 2563-2565 ทะลุ 3 หมื่นล้านบาท

“พาณิชย์” ระบุ มูลค่า “ตลาดภาพยนตร์” ปี 2563-2565 รวม 33,009.84 ล้านบาท และ มีแนวโน้มเติบโตอย่างต่อเนื่อง สร้างโอกาส ขยายตลาดออกไป สู่ ระดับ อินเตอร์​ฯ

“พาณิชย์” ระบุ มูลค่า “ตลาดภาพยนตร์” 2563-2565 ทะลุ 3 หมื่นล้านบาท
นาง อรมน ทรัพย์ทวีธรรม อธิบดี กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ (ที่ 3 จาก ซ้าย) ระบุ มูลค่าตลาด ภาพยนตร์ ปี 2563-2565 มีมูลค่า ทะลุ 3 หมื่นล้านบาท

“พาณิชย์” ระบุ มูลค่า “ตลาดภาพยนตร์” ปี 2563-2565 รวม 33,009.84 ล้านบาท มีแนวโน้มเติบโต อย่างต่อเนื่อง สร้างโอกาส ขยายตลาดออกไป สู่ ระดับ อินเตอร์​ฯ

“พาณิชย์” ระบุ มูลค่า “ตลาดภาพยนตร์” นาง อรมน ทรัพย์ทวีธรรม อธิบดี กรม พัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวง พาณิชย์ เปิดเผยว่า

ทาง กรมฯ ได้ รวบรวม ข้อมูล การเติบโตของ ธุรกิจ ผลิตภาพยนตร์ ใน ประเทศไทย ย้อนหลัง ไป 5 ปี “พาณิชย์” ระบุ มูลค่า “ตลาดภาพยนตร์” พบว่า

ธุรกิจ ภาพยนตร์ ของ ไทย มี อัตราการเติบโต อย่าง ก้าวกระโดด และ สร้างรายได้ เพิ่มมากขึ้น ภายหลัง การ แพร่ระบาด ของ โคโรน่า ไวรัส สายพันธ์ ใหม่ 2019 (โควิด-19) ปี 2563

จาก การรวบรวม ข้อมูล ของ กรมฯ พบว่า ตั้งแต่ ปี 2564-2566 ที่ ประเทศไทย อยู่ในช่วง ของ การฟื้นตัว จาก สถานการณ์ การ แพร่ระบาด ของ โรคโควิด-19 มี การ จัดตั้งบริษัท ผลิตภาพยนตร์ ใหม่ เพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง

โดยในปี 2566 มี ธุรกิจ ผลิตภาพยนตร์ ที่จดทะเบียน นิติบุคคลใหม่ จำนวน 137 ราย ทุนจดทะเบียน 258 ล้านบาท เติบโต จาก ปี 2565 ถึง 20%

และปี 2567 ในช่วง 4 เดือนแรก (มกราคม – เมษายน) มีจำนวน บริษัท ผลิตภาพยนตร์ ใหม่ เพิ่มขึ้น 56 ราย เติบโต ขึ้น 12% จาก ช่วงเวลา เดียวกัน ของปี 2566

และ ทุนจดทะเบียน 195.18 ล้านบาท เติบโต ขึ้น 146.44% จาก ช่วง เวลาเดียวกัน ของปี 2566

นอกจาก จำนวน และ ทุนจดทะเบียน ของบริษัท ผลิตภาพยนตร์ ที่จัดตั้งใหม่ จะ เพิ่มขึ้นแล้ว นาง อรมน กล่าวว่า

ในด้าน ของ ผลประกอบการ ของ กลุ่ม ธุรกิจนี้ ยังมี อัตรา การเติบโต ที่เพิ่มขึ้น จาก การรวบรวม ข้อมูลพบว่า

รายได้ ของ บริษัท ผลิต ภาพยนตร์ ในปี 2565 อยู่ที่ 12,895.15 ล้านบาท เพิ่มขึ้น ถึง 32% จากปี 2564 ที่มี รายได้ 9,761.54 ล้านบาท และ รายได้รวม ย้อนหลัง 3 ปี (2563-2565) อยู่ที่ 33,009.84 ล้านบาท

ซีรีย์วาย มาแรง

อธิบดี กรมฯ กล่าวว่า จากการ วิเคราะห์ ข้อมูล การ จัดตั้ง บริษัท ภาพยนตร์ ที่เกิดขึ้นใหม่ ส่วนใหญ่ จะมีการ ผลิต ภาพยนตร์ และ ซีรีส์ วาย เพื่อ ตอบโจทย์ กับ พฤติกรรม ของ ผู้ชม ในตลาด ที่นอกจาก ผู้ชม ในประเทศ แล้ว

ยังสามารถ ขายงาน ออกไปใน ต่างประเทศ จึง เป็นโอกาส ในการสร้าง รายได้ กลับเข้าสู่ ประเทศ

“นอกจาก การขาย คอนเทนต์ แล้ว ยังสามารถสร้าง โอกาส ทางธุรกิจ อื่นๆ ที่เชื่อมโยง กับธุรกิจ ภาพยนตร์​ เช่น

การจัด กิจกรรม Fan Meeting ที่จะทำให้ ธุรกิจในการ จัดกิจกรรม ​ ท่องเที่ยว ธุรกิจสถานที่ จัดการแสดง ธุรกิจโฆษณา เป็นต้น

ซึ่ง ปัจจุบัน กระทรวง พาณิชย์ ให้การ สนับสนุน กับ กลุ่ม ธุรกิจนี้ เพื่อช่วย จับคู่ธุรกิจ และ เชื่อมโยงสินค้าไทย ให้แทรกซึม อยู่ใน ซีรีส์วาย

จนกลาย เป็น Soft Power ของไทย และ ระดับโลก ที่ เรา เชื่อว่า จะสร้าง รายได้ เข้าสู่ ประเทศ ในอนาคต” นาง อรมน กล่าว ในที่สุด

ที่มาของ ข้อมูล : https://www.moc.go.th

ข่าวที่เกี่ยวข้อง : https://thejournalistclub.com/foreign-investment-thailand-eec/260826/